อุปกรณ์ที่ใช้ในห้องสตูดิโอ
นอกเหนือจากกล้องถ่ายรูปแล้ว อุปกรณ์อื่นๆก็เป็นส่วนประกอบที่จะทำให้ได้ภาพถ่ายที่มีความสมบูรณ์ และนำไปใช้งานได้
1. ขาตั้งกล้อง
อุปกรณ์ช่วยให้สามารถจัดองค์ประกอบภาพได้ง่ายขึ้น โดยนำกล้องไปติดไว้กับขาตั้งกล้อง แล้้วปรับระดับความสูงตามที่ต้องการ การเลือกควรจะเลือกชนิดที่มีคุณภาพสูง มีความมั่นคง แข็งแรง โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นตัวขาตั้งกล้องและส่วนหัว
2. รีเฟคเตอร์
ใช้ทำให้แสงที่ยิงออกมาจากแฟลชมีคอนทราสท์ลดลง โดยแสงที่สะท้อนจะมีอุณหภูมิสีเท่าเดิม
และมีการกระจายของแสงตามขนาดของรีเฟคเตอร์ รีเฟคเตอร์มีรูปร่างเป็นแผ่น หรือเป็นร่ม อาจจะใช้ผ้าสีขาวแทนก็ได้
3. ซอฟท์บ๊อก
แม้ว่าแสงที่สะท้อนผ่านรีเฟคเตอร์จะลดความเข้มข้นลงแล้ว แต่ส่วนที่แสงไม่สามารถส่องถึง
ก็ยังมี ไม่สามารถนำมาใช้งาานในงานที่ต้องการรายละเอียดมาก จึงต้องใช้ซอฟท์บ๊อกเพื่อช่วยให้แสดงกระจ่ายให้ทั่วแบบ รูปร่างของซอฟท์บ๊อกจะเป็นทรงสีเหลี่ยมติดไว้ด้านหน้าไฟ แสงที่ออกมาจะมีความนุ่มกว่าการยิงแฟลชไปตรงที่แบบ
4. เครื่องวัดแสง
เครื่องวัดแสงสามารถวัดได้ทั้งแสงธรรมชาติและแสงแพลช การวัดแสงสามารถวัดแสงแฟลชที่ยิงเพื่อใช้ปรับตั้งค่าในตัวกล้อง สามารถปรับความเร็วชัตเตอร์ได้ตามทีต้องการแต่ต้องไม่เกินช่วงความเร็วที่แพลชสามารถยิงได้ โดยปกติจะใช้ 1/125 วินาที ถ้าปรับสูงกว่านี้ เครื่องอาจจะวัดแสงได้ผิดพลาดจากความเป็นจริง
ขั้นตอนในการใช้เครื่องวัดแสง
1. เปิดสวิทซ์เครื่องวัดแสง ปรับตั้งค่าให้ตรงกับ ISO ที่ตั้งไว้ในกล้อง
2. ปรับตั้งระบบการทำงานในระบบวัดแสง
3. เสียบสายซิงโครไนซ์แพลช
4. หันเครื่องวัดแสงด้านที่มีโคมขาวขุ่นหันเข้าหากล้องแล้วกดปุ่มวัดแสง
5.ไฟแฟลช
แฟลชสี 2 ชนิด คือแบบทังสเตนและแบบอิเล็กทรอนิกส์ สมัยก่อนนิยมแบบที่เป็นทังสเตน เพราะมีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย สามารถใช้รูรับแสงที่เล็กมากๆได้ แต่ไม่เหมาะสมในการถ่ายบุคคลหรือแฟชั่นที่มีการเคลื่อนไหวไปมา อุณหภูมิสีจะเป็นแดงส้ม ประมาณ 3200 องศาเคลวิน ปัจจุบันนิยมใช้แบบอิเล็กทรอนิกส์จุดเด่นของไฟแฟลช คือ มีอุณหภูมิแสงที่คงที่ตลอดเวลาคล้ายแสงพระอาทิตย์ในตอนกลางวัน
2. รีเฟคเตอร์
ใช้ทำให้แสงที่ยิงออกมาจากแฟลชมีคอนทราสท์ลดลง โดยแสงที่สะท้อนจะมีอุณหภูมิสีเท่าเดิม
และมีการกระจายของแสงตามขนาดของรีเฟคเตอร์ รีเฟคเตอร์มีรูปร่างเป็นแผ่น หรือเป็นร่ม อาจจะใช้ผ้าสีขาวแทนก็ได้
แม้ว่าแสงที่สะท้อนผ่านรีเฟคเตอร์จะลดความเข้มข้นลงแล้ว แต่ส่วนที่แสงไม่สามารถส่องถึง
ก็ยังมี ไม่สามารถนำมาใช้งาานในงานที่ต้องการรายละเอียดมาก จึงต้องใช้ซอฟท์บ๊อกเพื่อช่วยให้แสดงกระจ่ายให้ทั่วแบบ รูปร่างของซอฟท์บ๊อกจะเป็นทรงสีเหลี่ยมติดไว้ด้านหน้าไฟ แสงที่ออกมาจะมีความนุ่มกว่าการยิงแฟลชไปตรงที่แบบ
เครื่องวัดแสงสามารถวัดได้ทั้งแสงธรรมชาติและแสงแพลช การวัดแสงสามารถวัดแสงแฟลชที่ยิงเพื่อใช้ปรับตั้งค่าในตัวกล้อง สามารถปรับความเร็วชัตเตอร์ได้ตามทีต้องการแต่ต้องไม่เกินช่วงความเร็วที่แพลชสามารถยิงได้ โดยปกติจะใช้ 1/125 วินาที ถ้าปรับสูงกว่านี้ เครื่องอาจจะวัดแสงได้ผิดพลาดจากความเป็นจริง
ขั้นตอนในการใช้เครื่องวัดแสง
1. เปิดสวิทซ์เครื่องวัดแสง ปรับตั้งค่าให้ตรงกับ ISO ที่ตั้งไว้ในกล้อง
2. ปรับตั้งระบบการทำงานในระบบวัดแสง
3. เสียบสายซิงโครไนซ์แพลช
4. หันเครื่องวัดแสงด้านที่มีโคมขาวขุ่นหันเข้าหากล้องแล้วกดปุ่มวัดแสง
แฟลชสี 2 ชนิด คือแบบทังสเตนและแบบอิเล็กทรอนิกส์ สมัยก่อนนิยมแบบที่เป็นทังสเตน เพราะมีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย สามารถใช้รูรับแสงที่เล็กมากๆได้ แต่ไม่เหมาะสมในการถ่ายบุคคลหรือแฟชั่นที่มีการเคลื่อนไหวไปมา อุณหภูมิสีจะเป็นแดงส้ม ประมาณ 3200 องศาเคลวิน ปัจจุบันนิยมใช้แบบอิเล็กทรอนิกส์จุดเด่นของไฟแฟลช คือ มีอุณหภูมิแสงที่คงที่ตลอดเวลาคล้ายแสงพระอาทิตย์ในตอนกลางวัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น